บัญชี ข.ของเสียเคมีวัตถุ(CHEMICAL WASTES)
ลำดับที่ | ชื่อวัตถุอันตราย | ชนิดที่ | CAS No | ผู้รับผิดชอบ | เงื่อนไข |
---|---|---|---|---|---|
1 |
น้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว (Used lubricating oil) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม |
เฉพาะที่มีปริมาณเกินกว่า20กิโลกรัมหรือ20ลิตรโดยไม่รวม
ถึงวัตถุที่อยู่ในสถานประกอบการที่มีกฎหมายเฉพาะควบคุม |
2 | ของเสียประเภทโลหะและที่มีโลหะเป็นองค์ประกอบ
(Metal and metal-bearing wastes) ของเสียประเภทโลหะ (Metal wastes) และของเสีย ที่ประกอบด้วยโลหะผสม (Waste consisting of alloys) ดังต่อไปนี้ : พลวง (Antimony), สารหนู(Arsenic), เบริลเลียม (Beryllium), แคดเมียม(Cadmium), ตะกั่ว (Lead),ปรอท(Mercury),ซิลิเนียม(Selenium), เทลลูเรียม(Tellurium),แทลเลียม(Thalium) |
3 | - |
กรมโรงงานอุตสาหกรรม |
- |
3 | ของเสียที่มีองค์ประกอบหรือสารปนเปื้อน (Constituents or contaminants) ดังต่อไปนี้ [ไม่รวมของเสียในรูปก้อนโลหะ (Metal waste in massive form)] : พลวงและสารประกอบ พลวง[Antimony; antimony compounds], เบริลเลียมและสารประกอบเบริลเลียม[Beryllium; beryllium compounds],แคดเมียมและสารประกอบแคดเมียม(Cadmium;cadmium compounds),ตะกั่วและสารประกอบตะกั่ว(Lead;lead compounds),ซิลิเนียมและสาร ประกอบ ซิลิเนียม(Selenium;selenium compounds),เทลลูเรียมและสารประกอบ เทลลูเรียม(Tellurium;tellurium compounds) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
4 | ของเสียที่มีองค์ประกอบและสารปนเปื้อนดังต่อไปนี้ : สารหนูและสารประกอบสารหนู (Arsenic; arsenic compounds),ปรอทและสารประกอบแทลเลียม (Mercury; mercury compounds), (Thallium; thallium compounds) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
5 | ของเสียที่มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ : โลหะคาร์บอนิล (Metal carbonyls), สารประกอบโครเมียมเฮกซาวาเลนท์ (Hexavalent chromium compounds) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
6 | กากตะกอนจากการชุบโลหะ (Galvanic sludges) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
7 | ของเหลวที่เกิดจากจากการทำความสะอาดโลหะ ด้วยกรด (Pickling of metals) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
8 | ของเสียจากกระบวนการผลิตสังกะสี (Leaching residues from zinc processing) ฝุ่น (Dust) และตะกอน (Sludges) เช่น จาโรไซท์ (Jarosite) เฮมาไทท์ (Hematite) ฯลฯ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
9 | ของเสียประเภทกากสังกะสี (Zinc residues) ที่มีสารตะกั่วและแคดเมียม | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
10 | เถ้าจากการเผาสายฉนวนหุ้มเส้นลวดทองแดง (Insulated copper wire) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
11 | ฝุ่นและกากจากระบบกรองก๊าซในโรงถลุงทองแดง ( Copper smelters) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
12 | สารละลายนำไฟฟ้าที่ใช้แล้ว (Spent electrolytic solutions) จากกระบวนการแยกทองแดงให้บริสุทธิ์ด้วยไฟฟ้า | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
13 | กากตะกอน (Sludges) ยกเว้น anode slimes จากกระบวนการแยกทองแดงให้บริสุทธิ์ด้วยไฟฟ้า | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
14 | สารละลายใช้แล้ว (spent etching solutions) ที่มีองค์ประกอบของทองแดง (Dissolved copper) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
15 | ของเสียที่เป็น Cupric chloride และ/หรือ Copper cyanide catalysts | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
16 | เถ้าโลหะมีค่า (Precious metal ash) เช่น ทอง เงิน ทองคำขาว พาลาเดียม(Palladium) อิริเดียม(Iridium) ออสเมียม(Osmium) โรเดียม(Rhodium) รูเทเนียม(Ruthenium) ที่ได้จากการเผาแผงวงจรอิเลคทรอนิก (Printed circuit boards) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
17 | แบตเตอรี่ชนิด Lead-acid ทั้งที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ และแยกส่วน(whole or crushed) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
18 | ของเสียประเภทแบตเตอรี่ที่ยังไม่ได้แยกประเภท (Unsorted waste batteries) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
19 | ชิ้นส่วนอุปกรณ์ Eelectrical and electronic assemblies หรือ Scrap [ไม่รวม Scrap จาก Electric power generation] ที่มีส่วนประกอบ ซึ่งได้แก่ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า และแบตเตอรี่อื่น ๆ Mercury-switches เศษแก้วจาก Cathode-ray | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
20 | หลอดแก้ว Cathode-ray และ Activated glass อื่น ๆ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
21 | ของเสียประเภทสารประกอบฟลูออรีนอนินทรีย์ (Inorganic fluorine compounds) ในรูปของเหลว (Liquids) หรือกากตะกอน (Sludges) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
22 | ของเสียประเภทคะตะลิสต์ (Catalysts) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
23 | ของเสียประเภทยิปซั่ม (Gypsum) ที่เกิดจาก กระบวนการอุตสาหกรรมเคมี | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
24 | ของเสียแอสเบสตอส (Waste asbestos) ในรูปฝุ่น (Dusts) และเส้นใย (Fibres) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
25 | เถ้าลอย (Fly-ash) จากโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากถ่านหิน (Coal-fired power plant) - ของเสียที่มีสารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งอาจมีโลหะและสารอนินทรีย์ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
26 | ของเสียจากการผลิตหรือกระบวนการผลิต Petroleum coke และ / หรือ Bitumen | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
27 | ของเสียประเภทน้ำมันแร่ (Mineral oils) ที่มีสภาพไม่เหมาะสำหรับการใช้งานตามวัตถุประสงค์เดิม | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
28 | ของเสียที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วย Leaded anti knock compound sludges | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
29 | ของเสียประเภทของเหลวที่เป็นตัวถ่ายเทความร้อน [Waste thermal (heat transfer) fluids] | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
30 | ของเสียจากการผลิต การผสม และการใช้เรซิน ลาเท็กซ์ พลาสติไซเซอร์ กาว และผลิตภัณฑ์ประเภทกาว | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
31 | ของเสียประเภทไนโตรเซลลูโลส (Waste nitrocellulose ) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
32 | ของเสียประเภทฟีนอล (Phenols) สารประกอบ ฟีนอล (Phenol compounds) รวมทั้งคลอโรฟีนอล (Chlorophenol) ในรูปของเหลวหรือกากตะกอน | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
33 | ของเสียประเภทอีเทอร์ (Ethers) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
34 | ของเสียที่เกิดจากฝุ่นหนัง (Leather dust) เถ้า (Ash) กากตะกอน (Sludges) และแป้ง (Flours) ที่มีสารประกอบโครเมียมเฮกซาวาเลนท์ (Hexavalent chromium compounds) หรือ Biocides | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
35 | ของเสียที่เป็นเศษหนังหรือส่วนประกอบของหนัง ที่ไม่เหมาะสำหรับการผลิตหนัง ที่มีสารประกอบโครเมียมเฮกซาวาเลนท์ (Hexavalent chromium compounds) หรือ Biocides | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
36 | Fellmongery waste ที่มีสารประกอบโครเมียมเฮกซาวาเลนท์ (Hexavalent chromium compounds) หรือ Biocides หรือสารติดเชื้อ (Infectious substance | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
37 | ปุยขนาดเล็ก (Fluff) ที่เกิดจากการตัด หั่น ซอย (Light fraction from shredding) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
38 | ของเสียประเภทสารประกอบฟอสฟอรัสอินทรีย์ (Organic phosphorous compounds) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
39 | ของเสียประเภทตัวทำละลายอินทรีย์ที่ไม่มีธาตุฮาโลเจนเป็นองค์ประกอบ (Non-halogenated organic solvents) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
40 | ของเสียประเภทตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีธาตุฮาโลเจนเป็นองค์ประกอบ (Halogenated organic solvents) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
41 | กากของเสียจากการกลั่นของเหลวที่ไม่ละลายน้ำ ทั้งที่มีฮาโลเจนและที่ไม่มีฮาโลเจนเป็นองค์ประกอบในกระบวนการนำตัวทำละลายอินทรีย์กลับมาใช้ใหม่ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
42 | ของเสียจากการผลิต Aliphatic halogenated hydrocarbon ได้แก่ คลอโรมีเทน (Chloromethane) ไดคลอโรอีเทน (Dichloro-ethane) ไวนิลคลอไรด์ (Vinyl chloride) ไวนิลอิดีนคลอไรด์ (Vinylidene chloride) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
43 | ของเสียและชิ้นส่วนที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วย โพลีคลอริเนทเต็ดไบฟีนิล (Polychlorinated biphenyl, PCB) โพลีคลอริเนทเต็ดเตอร์ฟีนิล (Polychlorinated terphenyl, PCT) โพลีคลอริเนทเต็ดแนฟธาลีน | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
44 | กากน้ำมันดิน (Tarry residues) (ยกเว้น Asphalt cements) ที่เกิดจากโรงกลั่นน้ำมัน และกระบวนการ กลั่น (Distillation) หรือการบำบัดอินทรียวัตถุด้วย วิธีไพโรไลติก (Pyrolitic treatment) - ของเสียที่มีองค์ประกอบอนินทรีย์หรืออินทรีย์ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
45 | ของเสียจากการผลิต และการใช้ผลิตภัณฑ์เภสัชกรรม (Pharmaceutical products) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
46 | ของเสียจากการรักษาพยาบาลหรือโครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์ พยาบาล ทันตกรรม การรักษาสัตว์ และที่เกิดจากโรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาลอื่นๆ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
47 | ของเสียจากการผลิต การผสมและการใช้ Biocides และ Phytopharmaceuticals รวมถึงของเสียประเภท ยาปราบศัตรูพืช (Pesticides) และยาปราบวัชพืช (Herbicides) ซึ่งไม่ได้คุณภาพตามกำหนด (Off-specification) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
48 | ของเสียจากการผลิต การผสมและการใช้สารเคมีรักษาเนื้อไม้ (Wood preserving chemicals) แต่ ไม่รวมไม้ที่ใช้สารเคมีในการรักษาเนื้อไม้ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
49 | ของเสียที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วยไซยาไนด์ อินทรีย์(Organic cyanides) และไซยาไนด์อนินทรีย์ (Inorganic cyanides) ยกเว้น กากโลหะมีค่า (Precious metal-bearing residues) เช่น ทอง เงิน ทองคำขาว พาลาเดียม (Palladium) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
50 | ของเสียผสมระหว่างน้ำมัน/น้ำ (Oils/water) หรือไฮโดรคาร์บอน/น้ำ (Hydrocarbons/water) หรือ อยู่ในรูปอิมัลชั่น (Emulsions) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
51 | ของเสียจากการผลิต การผสมและการใช้หมึก (Inks) สีย้อม (Dyes) สารสี (Pigments) สี (Paints) น้ำมันครั่ง (Lacquers) และน้ำมันชักเงา (Varnish ) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
52 | ของเสียที่สามารถระเบิดได้ (Explosive nature) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
53 | ของเสียประเภทสารละลายกรด หรือด่าง (Acidic or basic solutions) ที่มี pH ต่ำกว่า 2 และสูงกว่า 11.5 | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
54 | ของเสียจากอุปกรณ์ควบคุมมลพิษสำหรับการบำบัดก๊าซเสียจากอุตสาหกรรม | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
55 | ของเสียที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วยสารใด ๆ ดังต่อไปนี้ :cogenor ใดๆ ของสารโพลีคลอริเนทเต็ด ไดเบนโซ-ฟิวแรน ( Cogenor of Polychlorinated dibenzo-furan), cogenor ใดๆ ของสารโพลีคลอริเนทเต็ดไดเบนโซไดออกซิน ( Cogenor of Polychlorinated dibenzo-dioxin) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
56 | ของเสียที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วยเปอร์ออกไซด์ (Peroxides) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
57 | ของเสียบรรจุภัณฑ์ (Packages) หรือภาชนะบรรจุ (Containers) ที่ปนเปื้อนด้วยของเสียเคมีวัตถุ ทุกประเภท ยกเว้น น้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว (Used lubricating oil) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
58 | ของเสียที่มีสารเคมีที่ไม่ได้คุณภาพตามที่กำหนด หรือหมดอายุ (Off specification or outdated chemicals) | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
59 | ของเสียประเภทสารเคมีที่เกิดจากการศึกษาวิจัย และพัฒนา (Research and development ) หรือกิจกรรมการสอนซึ่งยังไม่ได้จำแนกชนิด และ / หรือ เป็น สารใหม่ หรือยังไม่เคยพบในสิ่งแวดล้อม แต่มีผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |
60 | Activated carbon ที่ใช้แล้ว | 3 | - | กรมโรงงานอุตสาหกรรม | - |